รายละเอียด"เรือเหาะตรวจการณ์ ทบ." พื้นที่ปฏิบัติการ สามจังหวัดชายแดนใต้
ข้อมูลผู้ผลิต
บริษัท Worldwide Aeros Corp. ประเทศสหรัฐอเมริกา
รุ่น Aeros 40D S/N 21 (SKY DRAGON)
มิติ
กว้าง 34.8 ฟุต (10.61 เมตร)
ยาว 155.34 ฟุต (47.35 เมตร)
สูง 48/3 ฟุต (13.35 เมตร)
ความจุฮีเลี่ยม 100,032 ลูกบาศก์ฟุต (2,833 ลูกบาศก์เมตร)
สมรรถนะการปฏิบัติการ
ระยะความสูงที่สามารถปฏิบัติงานได้ คือ 0-10,000 ฟุต (0-3,084 เมตร)
ระยะความสูงปฏิบัติการ 3,000-5,000 ฟุต
ความเร็วสูงสุด 88 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
ความเร็วเดินทาง 55 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
เครื่องยนต์
เครื่องยนต์ 2 คูณ 125 HP 4-Cylinder, Continental IO-240 B
ความจุเชื้อเพลิง 76 แกลลอน (300 ลิตร)
บินได้นาน 6 ชั่วโมง เกณฑ์การสิ้นเปลือง ณ ความเร็วสูงสุด 50 ลิตรต่อชั่วโมง
ระยะทางที่บินได้ไกลสุด 560 กิโลเมตร
ชนิดเชื้อเพลิงที่ใช้ 100 LL Grade Aviation Fuel
กำลังพลประจำอากาศยาน
-นักบิน 2 นาย
-ช่างกล้อง 1 นาย
-เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน 1 นาย
ส่วนการควบคุม "เรือเหาะตรวจการณ์" ประกอบด้วย
1. เรือเหาะ (Airship)
2. เฮลิคอปเตอร์ติดกล้องตรวจการณ์ 3 ลำ (HU-1H Helicopter) อยู่ในพื้นที่จังหวัดละ 1 ลำเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของเรือเหาะตรวจการณ์
3. ศูนย์บัญชาการประจำสถานี กระจายอยู่ทั่วพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ 26 สถานี (Fixed Command Center) ซึ่งจะใช้หน่วยเฉพาะกิจในพื้นที่เป็นที่ตั้งศูนย์บัญชาการประจำสถานี
4. รถบังคับการ (Glizzly) สนับสนุนการปฏิบัติงานของเรือเหาะในภาคพื้นดิน โดยจะติดตามเรือเหาะทางภาคพื้นดินระบบปฏิบัติการของ "เรือเหาะ" จะใช้ 2 ระบบ คือระบบสัญญาณไมโครเวฟ และระบบสัญญาณดาวเทียม ในการส่งข้อมูลไปยังหน่วยเฉพาะกิจหมายเลข 2 ตัวในพื้นที่ หน่วยเฉพาะกิจระดับจังหวัด และกองบัญชาการกองทัพบก
คุณลักษณะทั่วไปของ
ควบคุมโดยนักบิน ใช้กล้องตรวจการณ์เวลากลางวันและกลางคืน ที่สามารถถ่ายภาพและบันทึกภาพความละเอียดสูง
สามารถตรวจจับความร้อน รวมทั้งตรวจจับระยะและชี้เป้าหมายได้
ลอยตัวอยู่ในอากาศได้เป็นเวลานาน
ทำการลาดตระเวนตามวงรอบเพื่อปฏิบัติงานด้านการข่าวด้วยเสียงเงียบกว่าอากาศยานประเภทอื่น
เข้าประจำการเมื่อ 18 ธ.ค. 2552 ปฏิบัติงานในพื้นที่ 3 จชต. ณ โรงจอดภายในหน่วยเฉพาะกิจปัตตานี กองพลทหารราบที่ 15
ปลดประจำการเมื่อ ห้วง ก.ย. 2560 เป็นเพราะตัวเรือเหาะหมดอายุ ไม่มีแผนจัดซื้อใหม่ทดแทน
ข้อมูลผู้ผลิต
บริษัท Worldwide Aeros Corp. ประเทศสหรัฐอเมริกา
รุ่น Aeros 40D S/N 21 (SKY DRAGON)
มิติ
กว้าง 34.8 ฟุต (10.61 เมตร)
ยาว 155.34 ฟุต (47.35 เมตร)
สูง 48/3 ฟุต (13.35 เมตร)
ความจุฮีเลี่ยม 100,032 ลูกบาศก์ฟุต (2,833 ลูกบาศก์เมตร)
สมรรถนะการปฏิบัติการ
ระยะความสูงที่สามารถปฏิบัติงานได้ คือ 0-10,000 ฟุต (0-3,084 เมตร)
ระยะความสูงปฏิบัติการ 3,000-5,000 ฟุต
ความเร็วสูงสุด 88 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
ความเร็วเดินทาง 55 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
เครื่องยนต์
เครื่องยนต์ 2 คูณ 125 HP 4-Cylinder, Continental IO-240 B
ความจุเชื้อเพลิง 76 แกลลอน (300 ลิตร)
บินได้นาน 6 ชั่วโมง เกณฑ์การสิ้นเปลือง ณ ความเร็วสูงสุด 50 ลิตรต่อชั่วโมง
ระยะทางที่บินได้ไกลสุด 560 กิโลเมตร
ชนิดเชื้อเพลิงที่ใช้ 100 LL Grade Aviation Fuel
กำลังพลประจำอากาศยาน
-นักบิน 2 นาย
-ช่างกล้อง 1 นาย
-เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน 1 นาย
1. เรือเหาะ (Airship)
2. เฮลิคอปเตอร์ติดกล้องตรวจการณ์ 3 ลำ (HU-1H Helicopter) อยู่ในพื้นที่จังหวัดละ 1 ลำเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของเรือเหาะตรวจการณ์
3. ศูนย์บัญชาการประจำสถานี กระจายอยู่ทั่วพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ 26 สถานี (Fixed Command Center) ซึ่งจะใช้หน่วยเฉพาะกิจในพื้นที่เป็นที่ตั้งศูนย์บัญชาการประจำสถานี
4. รถบังคับการ (Glizzly) สนับสนุนการปฏิบัติงานของเรือเหาะในภาคพื้นดิน โดยจะติดตามเรือเหาะทางภาคพื้นดินระบบปฏิบัติการของ "เรือเหาะ" จะใช้ 2 ระบบ คือระบบสัญญาณไมโครเวฟ และระบบสัญญาณดาวเทียม ในการส่งข้อมูลไปยังหน่วยเฉพาะกิจหมายเลข 2 ตัวในพื้นที่ หน่วยเฉพาะกิจระดับจังหวัด และกองบัญชาการกองทัพบก
คุณลักษณะทั่วไปของ
ควบคุมโดยนักบิน ใช้กล้องตรวจการณ์เวลากลางวันและกลางคืน ที่สามารถถ่ายภาพและบันทึกภาพความละเอียดสูง
สามารถตรวจจับความร้อน รวมทั้งตรวจจับระยะและชี้เป้าหมายได้
ลอยตัวอยู่ในอากาศได้เป็นเวลานาน
ทำการลาดตระเวนตามวงรอบเพื่อปฏิบัติงานด้านการข่าวด้วยเสียงเงียบกว่าอากาศยานประเภทอื่น
เข้าประจำการเมื่อ 18 ธ.ค. 2552 ปฏิบัติงานในพื้นที่ 3 จชต. ณ โรงจอดภายในหน่วยเฉพาะกิจปัตตานี กองพลทหารราบที่ 15
ปลดประจำการเมื่อ ห้วง ก.ย. 2560 เป็นเพราะตัวเรือเหาะหมดอายุ ไม่มีแผนจัดซื้อใหม่ทดแทน