เตรียมตัวเองเพื่อการอ่านและจดจำ(เน้นหาอาจมีคำที่อ่านแล้วระคายหู ถ้าไม่ชอบก็ผ่านไปได้เลย)
ตำราเหมือนยาขมแต่ไม่อ่านวันนี้ก็ไม่ถึงจุดหมายในวันหน้า เพราะชีวิตไม่ได้มีแต่การสอบอย่างเดียว ต่อไปในชีวิตการทำงานการอ่านคือปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เราดำเนินงาน หรือแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นลุ่ล่วงได้ด้วยดี
รู้อย่างนี้เรามาหาวิธีกลืนยาขมเม็ดนี้ไปด้วยกัน
1.อย่าคิดว่าหนังสือ คือ ยาขมทำใจให้สนุก รู้ว่าเป้าหมายการอ่านเนื้อหาคืออันใด ถามตัวเองว่า “ ทำไมตูต้องอ่านตำราเล่มนี้ฟะ” หรือ “สูจะเอาอะไรจากตำราเล่มนี้ไปใช้ไปสอบ หรือตอบโจทย์อะไรในชีวิตของสูกันแน่” "ตำราเล่มนี้เพื่ออนาคตสูเอง" ด้วยการมีจุดประสงค์กำหนดจุดยืนว่าสูจะเอาอย่างไรกันแน่อ่านมันไปทำเพื่ออะไร อ่านเพื่อเอามัน เอาความรู้ไปสอบ เอาไปโม้หรือแก้ปัญหาในหน้าที่การงานของสูทั้งหลาย
2.ทำความคุ้นเคยกับหัวข้อ ทำความคุ้นเคยกับหัวข้อโดยทำการค้นหาทางอินเทอร์เน็ตอย่างรวดเร็ว ยิ่งสูเข้าใจและรู้เกี่ยวกับหัวข้อใดมากเท่าใดก็ยิ่งมีความเป็นไปได้ที่จะสร้างความสัมพันธ์และจดจำข้อมูลได้ดีขึ้น
ตัวอย่าง เช่น หากสูกำลังอ่านเกี่ยวกับศาสนาอิสลามให้พิมพ์“ อิสลาม” ในเครื่องมือค้นหาของสูไม่ว่าจะเฮียกู๋ ยาฮู จากนั้นคลิกที่บทความตัวอย่าง เช่น บทความ Wikipedia และอ่านทำความคุ้นเคยดูซะ กับหลักการพื้นฐานของศาสนาอิสลาม
3.สำรวจเนื้อหาทั้งหมดก่อนที่จะอ่านเนื้อหา อ่านที่มันสนุกสนใจที่สุด ให้จดหัวข้อ ส่วนหัวรูปภาพตารางคำย่อแผนภูมิและย่อหน้า มุ่งเน้นไปที่ข้อมูลสำคัญที่ตอบสนองวัตถุประสงค์ของสูในการอ่านเนื้อหา (อันไหนยากน่าเบื่อไว้อ่านสุดท้าย แต่ต้องอ่านอยู่ดี) มายด์แมบทำบ้างก็ดีแล้วจะมาเล่าให้ฟังว่าทำไง
การตัดเนื้อหาทำให้เพื่อให้มุ่งเน้นสำคัญและช่วยให้สูกำหนดภาพเนื้อหาที่ใหญ่ขึ้นซึ่งจะทำให้จดจำข้อมูลสำคัญได้ง่ายขึ้น
4.อ่านในส่วนสั้น ๆ การอ่านเมื่อสูเจ้าไม่สามารถโฟกัสสมาธิไปกับการอ่านนานๆได้ ดังนั้นเพื่อให้โฟกัสการอ่านได้สูงสุด ควรแบ่งการอ่านเป็นช่วงสั้น ๆ ตัวอย่าง เช่น อ่านเฉพาะส่วนหรืออ่านเพียงครั้งละ 10 ถึง 15 นาที หลังจากอ่านหัวข้อแล้วอ่านสิ่งที่สูเพิ่งอ่านในใจ
เพิ่มความอดทนในการอ่านโดยเพิ่มจำนวนเวลาที่สูต้องอ่านในแต่ละวันหรือทุกสัปดาห์ ตัวอย่าง เช่น หากสูอ่านสั้น ๆ ประมาณ 10 ถึง 15 นาทีหนึ่งสัปดาห์ให้อ่านเพิ่มเป็นประมาณ 20 ถึง 25 นาทีในสัปดาห์หน้า
ยังๆยังไม่จบยังเหลือตอนที่ 2 กับคัมภีร์สู่ความสำเร็จในการอ่านและจดจำ
แปลและดัดแปลงจากบทความ https://www.wikihow.com/Remember-What-You-Read
โดยแอดมิน @Armyetc
ตำราเหมือนยาขมแต่ไม่อ่านวันนี้ก็ไม่ถึงจุดหมายในวันหน้า เพราะชีวิตไม่ได้มีแต่การสอบอย่างเดียว ต่อไปในชีวิตการทำงานการอ่านคือปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เราดำเนินงาน หรือแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นลุ่ล่วงได้ด้วยดี
รู้อย่างนี้เรามาหาวิธีกลืนยาขมเม็ดนี้ไปด้วยกัน
1.อย่าคิดว่าหนังสือ คือ ยาขมทำใจให้สนุก รู้ว่าเป้าหมายการอ่านเนื้อหาคืออันใด ถามตัวเองว่า “ ทำไมตูต้องอ่านตำราเล่มนี้ฟะ” หรือ “สูจะเอาอะไรจากตำราเล่มนี้ไปใช้ไปสอบ หรือตอบโจทย์อะไรในชีวิตของสูกันแน่” "ตำราเล่มนี้เพื่ออนาคตสูเอง" ด้วยการมีจุดประสงค์กำหนดจุดยืนว่าสูจะเอาอย่างไรกันแน่อ่านมันไปทำเพื่ออะไร อ่านเพื่อเอามัน เอาความรู้ไปสอบ เอาไปโม้หรือแก้ปัญหาในหน้าที่การงานของสูทั้งหลาย
2.ทำความคุ้นเคยกับหัวข้อ ทำความคุ้นเคยกับหัวข้อโดยทำการค้นหาทางอินเทอร์เน็ตอย่างรวดเร็ว ยิ่งสูเข้าใจและรู้เกี่ยวกับหัวข้อใดมากเท่าใดก็ยิ่งมีความเป็นไปได้ที่จะสร้างความสัมพันธ์และจดจำข้อมูลได้ดีขึ้น
ตัวอย่าง เช่น หากสูกำลังอ่านเกี่ยวกับศาสนาอิสลามให้พิมพ์“ อิสลาม” ในเครื่องมือค้นหาของสูไม่ว่าจะเฮียกู๋ ยาฮู จากนั้นคลิกที่บทความตัวอย่าง เช่น บทความ Wikipedia และอ่านทำความคุ้นเคยดูซะ กับหลักการพื้นฐานของศาสนาอิสลาม
3.สำรวจเนื้อหาทั้งหมดก่อนที่จะอ่านเนื้อหา อ่านที่มันสนุกสนใจที่สุด ให้จดหัวข้อ ส่วนหัวรูปภาพตารางคำย่อแผนภูมิและย่อหน้า มุ่งเน้นไปที่ข้อมูลสำคัญที่ตอบสนองวัตถุประสงค์ของสูในการอ่านเนื้อหา (อันไหนยากน่าเบื่อไว้อ่านสุดท้าย แต่ต้องอ่านอยู่ดี) มายด์แมบทำบ้างก็ดีแล้วจะมาเล่าให้ฟังว่าทำไง
การตัดเนื้อหาทำให้เพื่อให้มุ่งเน้นสำคัญและช่วยให้สูกำหนดภาพเนื้อหาที่ใหญ่ขึ้นซึ่งจะทำให้จดจำข้อมูลสำคัญได้ง่ายขึ้น
4.อ่านในส่วนสั้น ๆ การอ่านเมื่อสูเจ้าไม่สามารถโฟกัสสมาธิไปกับการอ่านนานๆได้ ดังนั้นเพื่อให้โฟกัสการอ่านได้สูงสุด ควรแบ่งการอ่านเป็นช่วงสั้น ๆ ตัวอย่าง เช่น อ่านเฉพาะส่วนหรืออ่านเพียงครั้งละ 10 ถึง 15 นาที หลังจากอ่านหัวข้อแล้วอ่านสิ่งที่สูเพิ่งอ่านในใจ
เพิ่มความอดทนในการอ่านโดยเพิ่มจำนวนเวลาที่สูต้องอ่านในแต่ละวันหรือทุกสัปดาห์ ตัวอย่าง เช่น หากสูอ่านสั้น ๆ ประมาณ 10 ถึง 15 นาทีหนึ่งสัปดาห์ให้อ่านเพิ่มเป็นประมาณ 20 ถึง 25 นาทีในสัปดาห์หน้า
ยังๆยังไม่จบยังเหลือตอนที่ 2 กับคัมภีร์สู่ความสำเร็จในการอ่านและจดจำ
แปลและดัดแปลงจากบทความ https://www.wikihow.com/Remember-What-You-Read
โดยแอดมิน @Armyetc